F;p;kpwfhg]p
กำหนดความถี่ที่ f1 ไว้ที่ 50 Hz จะต้องทำงานที่ความที่ 50 Hz ตลอด ถ้าความเร็วลมให้ความถี่ไม่ได้ 50 Hz จะทำการหลอกระบบการทำงานของเครื่องกระผลิตกระแสไฟฟ้าโดยการเอาความถี่ของ f2 มาบวกเพิ่มให้ได้ความถี่ที่ตั้งไว้ 50 Hz เพื่อให้เครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าผลิตกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ระบบการผลิตกระแสไฟฟ้า แต่ถ้าความเร็วลมที่ทำให้ความถี่นั้นเกิน 50 Hz ที่ระบบจะทำงานได้นั้น เราก็จะทำการหลอกไว้กับระบบโดยการลดความถี่ลงให้ได้ความถี่ที่ต้องการที่ 50 Hz เพื่อให้เกิดการทำงานของเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้า
การไหลกระแสเข้ามาจาก Grid โดนการ charge ไฟให้เป็นไฟ DC ที่ converter ที่ ไฟ DC 0 volt
จากนั้นแปลงไฟขึ้นโดยผ่านการแปลงไฟให้เป็นกระแสสลับ โดนผ่าน dv filter และเคลื่อนที่ผ่านตัวเหนี่ยวนำกระแส กลับไปที่ converter
หลังจากนั้นเป็นการเข้าตัวแปลงจากไฟ 160 v เป็นไฟ DC ที่ 1100 V
จะเป็นหลักการ Synchronizing
connected (slip =0) โดยการไหลกลับเข้าไปสู่ Grid โดยผ่าน Mains circuit-breaker ต่อเข้าสู่ระบบ
Subsynchronous (slip > 0) จะทำงานเหมือนการทำงานที่ connected (slip =0)
Supersynchronous (slip < 0) จะมีกระแสที่ไหลกลับจาก converter โดยผ่าน Mains circuit-breaker ต่อเข้าสู่ระบบ โดยไปยัง Gird
แรกคลอด ทารก Activeและreflex ดี. อัตราการเต้นของหัวใจดี .ร้องเสียงดัง. สีผิวคล้ำตามปลายมือปลายเท้า. keep warm. ดูดเสมหะด้วย rubber bult. ทารกตัวแดงดี. สายสะดือและรูทวาร ปกติ . ยาที่ใช้ คือ
ข้อมูลการออกแบบหม้แปลง
พิกัดหม้อแปลง 110 VA
Turn Ratio 1:1
Primary Voltage 110 V
Secondary Voltage 110 V
โครงสร้าง Shell Type
ใช้งานเป็น Autotransformer
ข้อมูลการออกแบบ Magnetic Flux Density (B) = 1.165 Tesla
จาก Erms = 4.44Føn
Erms = 4.44fB•A•N
Erms/N = 4.44fB•A
E/N = 0.312 Volt/Turn
Core Area = 12.082 cm2
Current Density = 2.5 A/mm2
Copper area = 2.812 cm2
Window space factor = 60%
Net Window area = 4.70
มีเซนเตอร์แทป โดยด้าน Secondary (Vs);
แท๊ปที่ 3 V = 343 รอบ
แท๊ปที่ 9V = 324 รอบ
แท๊ปที่ 12 V = 314 รอบ
แท๊ปที่ 24V = 276 รอบ
110 V =353 รอบ
น้ำหนักลวด = 5 ขีด
น้ำหนักเหล็ก = 1 กิโลกรัม 9 ขีด
น้ำหนักรวม = 2 กิโลกรัม 4 ขีด
หลักการออกแบบ
จากโจทย์กำหนดS = 110 VA; Vp= 110V; Vs=110V
จากพิกัดของหม้อแปลง
S =VpIp= VsIs
Ip= S/Vp
Ip= 110/110 = 1A
Is= S/Vs
Is= 110/110=1A
เพราะฉะนั้นจึงใช้เส้นลวดทองแดง SWG 22
Turn Ratio 1:1
Primary Voltage 110 V
Secondary Voltage 110 V
โครงสร้าง Shell Type
ใช้งานเป็น Autotransformer
ข้อมูลการออกแบบ Magnetic Flux Density (B) = 1.165 Tesla
จาก Erms = 4.44Føn
Erms = 4.44fB•A•N
Erms/N = 4.44fB•A
E/N = 0.312 Volt/Turn
Core Area = 12.082 cm2
Current Density = 2.5 A/mm2
N1= 352 Turns , Copper Wire SWG Size = 22 , Area = 0.004 mm2
N2= 352 Turns , Copper Wire SWG Size = 22 , Area = 0.004 mm2
N2= 352 Turns , Copper Wire SWG Size = 22 , Area = 0.004 mm2
Copper area = 2.812 cm2
Window space factor = 60%
Net Window area = 4.70
มีเซนเตอร์แทป โดยด้าน Secondary (Vs);
แท๊ปที่ 3 V = 343 รอบ
แท๊ปที่ 9V = 324 รอบ
แท๊ปที่ 12 V = 314 รอบ
แท๊ปที่ 24V = 276 รอบ
110 V =353 รอบ
น้ำหนักลวด = 5 ขีด
น้ำหนักเหล็ก = 1 กิโลกรัม 9 ขีด
น้ำหนักรวม = 2 กิโลกรัม 4 ขีด
หลักการออกแบบ
จากโจทย์กำหนดS = 110 VA; Vp= 110V; Vs=110V
จากพิกัดของหม้อแปลง
S =VpIp= VsIs
Ip= S/Vp
Ip= 110/110 = 1A
Is= S/Vs
Is= 110/110=1A
เพราะฉะนั้นจึงใช้เส้นลวดทองแดง SWG 22
อุปกรณ์ที่ใช้ทำหม้อแปลง
อุปกรณ์ที่ใช้ทำหม้อแปลง
1. แทปสำหรับพันลวดทองแดง
2. เหล็ก I , E
3. ลวดทองแดง
4. Insulating Varnish (น้ำวานิช)
5. เครื่องช่วยพันเส้นลวด
3. ลวดทองแดง
4. Insulating Varnish (น้ำวานิช)
5. เครื่องช่วยพันเส้นลวด
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)